โครงสร้างพื้นฐาน
การคมนาคม การจราจร
– ถนนลูกรัง จำนวน ๙ สาย
– ถนนลาดยาง จำนวน ๑ สาย
– ถนนคอนกรีต จำนวน ๓๐ สาย
– ถนนเพื่อการเกษตร จำนวน ๑๐ สาย
– สะพาน จำนวน ๗ แห่ง
แม่น้ำ ๒ แห่ง
– แม่น้ำเหือง
– แม่น้ำหมัน
มีการจัดการขนส่งมวลชน ได้แก่
– รถโดยสาร จำนวนรถโดยสาร ๗ คัน
โทรคมนาคม ได้แก่
– โทรศัพท์
– อินเตอร์เน็ต
การสื่อสาร ได้แก่
– โทรศัพท์ส่วนบุคคลในพื้นที่ จำนวน ๓,๐๐๐ หมายเลข (มือถือ)
– โทรศัพท์สาธารณะในเขตพื้นที่ จำนวน ๙ หมายเลข
– จำนวนชุมสายโทรศัพท์ในเขตพื้นที่ – ชุมสาย
– ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข ๑ พื้นที่
– ระบบเสียงตามสาย / หอกระจายข่าวในพื้นที่ให้บริการครอบคลุมร้อยละ ๑๐ แห่ง
– หน่วยงานที่มีข่ายวิทยุสื่อสารในพื้นที่ ๑ แห่ง
การประปา ได้แก่
– จำนวนครัวเรือนที่ใช้ประปา จำนวน ๙๐๐ ครัวเรือน
– หน่วยงานเจ้าของกิจการประปา จำนวน ๑ หน่วยงาน
– น้ำประปาที่ผลิต จำนวน ๑,๐๐๐ ลบ.ม. /วัน
– น้ำประปาที่ใช้ จำนวน ๙๐๐ ลบ.ม. / วัน
– แหล่งน้ำดิบที่ใช้ผลิตน้ำประปา จำนวน ๗ แห่ง
– แหล่งน้ำดิบสำรอง จำนวน ๑ แห่ง
– โทรศัพท์ จำนวน ๙ แห่ง
– จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า จำนวน ๙๐๐ แห่ง
– พื้นที่ได้รับบริการไฟฟ้า ร้อยละ ๙๙ ของพื้นที่ทั้งหมด
– ไฟฟ้าสาธารณะ (ไฟฟ้าแสงสว่าง) จำนวน ๕๐ จุด ครอบคลุมถนน ๒ สาย
– ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุครุภัณฑ์
– ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๑ บ้านนาดี อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย จำนวน ๑ แห่ง
ลักษณะของแหล่งน้ำ มีจำนวน ๓ แห่ง ได้แก่
๑. หนองหอย คิดเป็นพื้นที่กักเก็บน้ำประมาณ ๓,๐๐๐ ลบ.ม.
๒. หนองนาดี คิดเป็นพื้นที่กักเก็บน้ำประมาณ ๔,๐๐๐ ลบ.ม.
๓. หนองซำผุก คิดเป็นพื้นที่กักเก็บน้ำประมาณ ๒,๐๐๐ ลบ.ม.
คลอง ลำธาร ห้วย แม่น้ำ จำนวน ๒ แห่ง ได้แก่
๑. แม่น้ำหมัน
๒. แม่น้ำเหือง
ด้านการระบายน้ำ
พื้นที่น้ำท่วมถึง คิดเป็นร้อยละ ๓๐ ของพื้นที่ทั้งหมด
ระยะเวลาเฉลี่ยที่น้ำท่วมขังนานที่สุด ๓๐ วัน ประมาณช่วงเดือนกรกฏาคม
- ระบบบำบัดน้ำเสียที่ใช้ (ระบุ) จำนวน รวม – แห่ง
- น้ำเสียที่บำบัดได้ จำนวน รวม – ลบ.ม. / วัน
ค่า BOD. ในคลอง / ทางระบายน้ำสายหลัก
ลักษณะของไม้และป่าไม้
– ป่าภูเขา